สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้ประกอบการภาคธุรกิจโลจิสติกส์ คลังสินค้า-โรงงานผลิต ผู้ติดตั้ง และผู้ใช้งานก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นเชื้อเพลิงในยานยนต์
จึงได้กำหนดมาตรฐานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาเครื่องกล เรื่อง ระบบการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นเชื้อเพลิงในรถฟอร์กลิฟต์ ขึ้น เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการติดตั้งและทดสอบให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นเชื้อเพลิงในรถฟอร์กลิฟต์ และเปิดให้ download “มาตรฐานระบบการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นเชื้อเพลิงในรถฟอร์กลิฟต์ หรือ Forklifts – Liquefied petroleum gas (LPG) fuel systemsฟรี ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 31 มีนาคม 2565 คลิกที่รูปเพื่ออ่าน มาตรฐานระบบการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นเชื้อเพลิงในรถฟอร์กลิฟต์


สามารถคลิกเพื่ออ่านรายละเอียดได้ที่นี่

เนื้อหาประกอบด้วย
1. การบำบัดน้ำเสียในอาคาร
2. ลักษณะน้ำเสีย
3. คุณลักษณะน้ำเสีย
4. แหล่งกำเนิดน้ำเสียชุมชน
5. หลักเกณฑ์ในการเลือกระบบบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสม
6. ระบบบำบัดน้ำเสียในอาคาร
7. หลักการทำงานระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่ง (Activated Sludge; AS)
8. องค์ประกอบของระบบ AS
9. หลักการทำงานของระบบ AS
10. หลักการดูแลระบบ AS
11. ปัจจัยหรือพารามิเตอร์ที่จำเป็นสำหรับการควบคุมระบบ AS
12. เกณฑ์การออกแบบหรือค่าควบคุมในการดูแลระบบ AS
13. ตัวอย่างระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอคทิเวทเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge) ที่นิยมใช้
14. ข้อดี-ข้อเสียของระบบเอสบีอาร์

สามารถคลิกเพื่ออ่านรายละเอียดได้ที่นี่

เนื้อหาประกอบด้วย
1. การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย
2. การออกแบบถังบำบัดน้ำเสียชุมชนจากครัวเรือนขนาดเล็ก
3. การประมาณปริมาณน้ำเสียที่ใช้ในการออกแบบ
4. รูปแบบระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนจากบ้านเรือนขนาดเล็ก
4.1 หลักการทำงานของถังดักไขมัน
4.2 หลักการทำงานของถังเกรอะ
4.3 หลักการทำงานของถังบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ
5. หลักการดูแลถังบำบัดแบบเติมอากาศ
5.1 การเดินระบบเติมอากาศเบื้องต้น
5,2 ปัญหา สาเหตุ การตรวจสอบ แนวทางป้องกันแก้ไข
6. การออกแบบถังบำบัดนำเสียแบบเติมอากาศอย่างง่าย
7. รูปแบบถังเติมอากาศแบบทำเอง