สามารถคลิกเพื่ออ่านรายละเอียดได้ที่นี่

เนื้อหาประกอบด้วย
1. การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย
2. การออกแบบถังบำบัดน้ำเสียชุมชนจากครัวเรือนขนาดเล็ก
3. การประมาณปริมาณน้ำเสียที่ใช้ในการออกแบบ
4. รูปแบบระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนจากบ้านเรือนขนาดเล็ก
4.1 หลักการทำงานของถังดักไขมัน
4.2 หลักการทำงานของถังเกรอะ
4.3 หลักการทำงานของถังบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ
5. หลักการดูแลถังบำบัดแบบเติมอากาศ
5.1 การเดินระบบเติมอากาศเบื้องต้น
5,2 ปัญหา สาเหตุ การตรวจสอบ แนวทางป้องกันแก้ไข
6. การออกแบบถังบำบัดนำเสียแบบเติมอากาศอย่างง่าย
7. รูปแบบถังเติมอากาศแบบทำเอง


ก๊าซชีวภาพในระดับชุมชนและครัวเรือน Biogas Production

  • คัดเลือกมะขามเปรี้ยวหรือมะขามเปียกในสภาพดีไม่มีมอด รา เนื้อสีน้ำตาลอมแดง แกะเมล็ดและรกออก ล้างด้วยน้ำเปล่า 1 ครั้ง
  • ใช้เนื้อมะขาม 300 กรัม ต่อน้ำ 2 ลิตร ผสมรวมกัน ตั้งไฟใช้อุณหภูมิประมาณ 80-85 องศาเซลเซียส พร้อมคนตลอดเวลา
  • ยกขึ้นกรองด้วยผ้าขาวบาง 2 ชั้น บีบเอาน้ำออก นำกากไปต้ม และคั้นน้ำออกจำนวนทั้งหมด 4 ครั้ง
  • นำน้ำมะขามที่กรองจำนวน 4 ครั้งมาผสมรวมกันและกรองด้วยผ้าขาวบางอีก 1 ครั้ง
  • จากนั้นนำน้ำมะขาม 5 ลิตร น้ำตาลทราย 600 กรัม และเกลือ 4 กรัม มาผสมรวมกัน และตั้งไฟต้มให้เดือด
  • จากนั้นเทน้ำมะขามกรองด้วยผ้าขาวบาง
  • บรรจุลงในภาชนะที่ฆ่าเชื้อแล้วในขณะที่น้ำมะขามยังร้อนอยู่ ทั้งนี้ภาชนะนำมาฆ่าเชื้อด้วยการลวกในน้ำต้มเดือดแช่ทิ้งไว้ 1-2 นาที
  • นำน้ำมะขามบรรจุในภาชนะที่เตรียมไว้ จากนั้นคว่ำขวดลงเพื่อต้องการฆ่าเชื้อที่ฝาขวด