ประเภทการใช้ที่ดิน
เนื้อที่
ตร.กม.
ไร่
ร้อยละ
1. ป่าดิบแล้ง
46.82
29,260
59.96
2. ป่าเต็งรัง
14.51
9,066
18.58
3. ป่าปลูก
14.46
9,038
18.52
4. ทุ่งหญ้า
0.93
582
1.19
5. ป่าไผ่
1.12
697
1.43
6. สิ่งปลูกสร้าง
0.25
157
0.32
รวม
78.08
48,800
100

ส่วนในพื้นที่ของแหล่งสงวนชีวมณฑลสะแกราช ซึ่งมีเนื้อที่ 771 ตร.กม. ที่นอกเขตสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชมีลักษณะการใช้ที่ดินที่แตกต่างกันออกไป 
ประกอบด้วยพื้นที่ป่าไม้ซึ่งมีทั้งป่าธรรมชาติและป่าปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณภูเขาทาง
ด้านตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใต้ของสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช ส่วน ทางด้านใต้ซึ่งอยู่ในแอ่งวังน้ำเขียวเป็นพื้นที่เกษตรกรรมหลากหลายชนิดทั้ง   ข้าวโพด  

มันสำปะหลัง
  เป็นต้น นอกจากนั้น ได้มีการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น องุ่น ลำไย ลิ้นจี่
เป็นต้น   

 

 

                                             

            

                              

                  สภาพการใช้ที่ดินในเขตพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช 

จากข้อมูลปี พ.ศ. 2543 แบ่งออกได้ 6 ประเภท ได้แก่
                                               


 















   1) ป่าดิบแล้ง